บทความเกี่ยวกับวิจัย
บทความเกี่ยวกับวิจัยData management & Statistical analysis
Data management & Statistical analysis
Manuscript Writing For Publication
Superiority, Non-inferiority and Equivalence Trial
จักษุแพทย์ท่านหนึ่ง มาขอปรึกษาว่า ได้ทำวิจัยประสิทธิผลของการรักษาโรคตา
ด้วยยาตัวใหม่เปรียบเทียบกับการรักษาด้วยยามาตรฐานเดิม พบว่า ยาใหม่มีประสิทธิผลด้อยกว่ายาเดิม
แต่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ มีคำถามว่าผลการวิจัยนี้จะสรุปว่าการรักษาด้วยยาตัวใหม่ไม่ด้อยกว่า
(non-inferior) การรักษาด้วยยาเดิมได้หรือไม่?
How to Write a Smart Abstract?
การเขียนข้อสรุปสำคัญ(abstract) นับเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งในบทความผลงานวิจัย ข้อสรุปสำคัญที่ดีจะช่วยให้ผลงานวิจัยเป็นที่สนใจและทำให้ผู้อ่าน (readers) ทราบถึงสาระสำคัญที่ผู้ทำวิจัยต้องการสื่อสารกับผู้อ่าน ทำให้ผู้อ่านมีความสนใจอ่านผลงานฉบับเต็มได้มากยิ่งขึ้นและยังเป็นการต่อยอดทำให้ผลงานวิจัยนั้นมีโอกาสที่ผู้ทำวิจัยอื่นๆ นำมาใช้เพื่ออ้างอิง(citation) ในอนาคต
การลงทะเบียนงานวิจัยแบบทดลองทางคลินิก: การรายงานผลสรุปงานวิจัย
การลงทะเบียนงานวิจัยทางคลินิกนั้น เป็นที่ทราบกันดีในหมู่นักวิจัยทางคลินิกว่า ได้มีการประกาศจาก International Committee of Medical Journal Editors (ICMJE) เมื่อปี พ.ศ. 25471 ให้งานวิจัยที่เข้าข่ายว่าเป็นงานวิจัยแบบทดลองทางคลินิกตามคำนิยามขององค์การอนามัยโลก2 ลงทะเบียนโครงการวิจัยก่อนที่จะรับอาสาสมัครรายแรกเข้าโครงการ
เริ่มต้นการทำวิจัยที่คำถามวิจัย Research Question
การจัดการความรู้ในการทำวิจัย (Research Knowledge Management) เป็นคอลัมน์ประจำของจดหมายข่าว Research Express มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเวทีของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานวิจัย ถ้าสมาชิกจักษุแพทย์มีปัญหาในการทำงานวิจัย สามารถส่งคำถามมาได้ที่ admin@rcopt.org คณะกรรมการวิจัยจะตอบหรือหาผู้เชี่ยวชาญตอบคำถามเพื่อแก้ปัญหาในการทำงานวิจัยดังกล่าว ในทางกลับกัน สมาชิกจักษุแพทย์ที่มีประสบการณ์ในการทำวิจัย และอยากแบ่งปันประสบการณ์ให้กับสมาชิกที่เริ่มต้นการทำงานวิจัย สามารถส่งมาเผยแพร่ได้เช่นเดียวกัน