ควันหลงวิชาการ + วิชาการน่ารู้

ควันหลงวิชาการ + วิชาการน่ารู้
แสดง 31 - 36 จาก 36 รายการ

How to approach abnormal blinking in children

Updated 2015-12-08 15:59:00 by คุณ System Administrator 5630 Views


How to approach abnormal blinking in children
Symptom &sign: excessive blinking, blepharospasm, others eg. Myokymia,
blepharoclonus
Differential diagnosis
1. Ocular cause:
เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ ocular surface and anterior segment disorder, refractive error และ strabismus เช่น
Intermittent esotropia
2. Neurogenic cause:
พบได้ไม่บ่อย ผู้ป่วยมักมีอาการกระพริบตาผิดปกติมากขึ้น เช่น blepharoclonus, hemifacial spasm, facial myokymia หรือมีอาการผิดปกติทางระบบประสาทอื่นร่วมด้วย

3. Neuro - psychiatric cause:
เช่น Psychogenic blepharospasm, Tics,Tourette syndrome ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ เช่น กระพริบตาบ่อย ทำตาเหลือบขึ้น และอาจมีอาการเคลื่อนไหวของร่างกายส่วนอื่นแบบซ้ำๆและไม่สามารถบังคับได้

สรุป การกระพริบตาบ่อยหรือผิดปกติในเด็ก มักเกิดจากสาเหตุที่ไม่รุนแรง  ไม่จำเป็นต้องปรึกษา neurologist หรือทำ imagingตั้งแต่แรก ยกเว้นแต่มีอาการมากขึ้นหรือมีอาการทางระบบประสาทผิดปกติร่วมด้วย

 

พต.หญิง พญ. ณัฐธิดา วงศ์วีระวัฒน์

จักษุแพทย์ประจำรพ. บำรุงราษฎร์


Infantile cataract

Updated 2015-12-03 22:56:00 by คุณ System Administrator 3404 Views

- ภาวะตาบอดและต้อกระจกในเด็ก ถูกจัดอันดับความสำคัญต้นๆ ใน issue VISION 2020 ของ WHO

ที่มีคำขวัญว่า the right to sight โดยมีเป้าหมายที่จะลดอัตราความชุกของตาบอดในเด็กจาก 0.075%

ลงเหลือ 0.04% ภายในปี 2020 โดยอาศัยความร่วมมือของ eye care system ต่างๆ เพื่อที่จะ ป้องกัน รักษา และส่งเสริมสุขภาพทางตา รวมทั้งฟื้นฟูสมรรถภาพการมองเห็นหากเกิดความพิการ โดยเน้นการป้องกัน เนื่องจาก 80% ของภาวะตาบอดป้องกันได้

 



Learning Disability (LD): Role of Ophthalmologist

Updated 2015-10-13 17:17:00 by คุณ System Administrator 4208 Views

80% ของ Learning Disability คือ Dyslexia ซึ่งจักษุแพทย์มักได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจหาสาเหตุทางตาที่อาจทำให้เด็กไม่สามารถอ่านได้เป็นปกติ



Calcium และ vitamin D

Updated 2015-09-07 11:38:00 by คุณ System Administrator 814 Views


โรคกระดูกพรุนเกิดจาก 2 ปัจจัยใหญ่ คือ พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม สำหรับปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่สำคัญได้แก่ การพร่อง calcium และ vitamin

·    ผลของการให้ calcium เสริมในการป้องกันกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนยังไม่ชัดเจนนัก 

·    การได้รับ calcium เสริมมากพอมีหลักฐานจากการศึกษาว่าสามารถลดอัตราการเกิดกระดูกหักเฉพาะในผู้สูงอายุที่มีโรคกระดูกพรุนและรับประทาน calcium อย่างสม่ำเสมอ

·    การได้รับ calcium เสริมในประชากรกลุ่มอื่นเช่นในเด็ก หญิงตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร หญิงหลังหมดประจำเดือนใหม่ๆ ไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนว่าได้ประโยชน์ในการป้องกันกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน


Update in Medicine: Rheumatic disease related uveitis

Updated 2015-08-31 22:00:00 by คุณ System Administrator 864 Views

ผศ.พญ.ปารวี สุวรรณาลัย หน่วยภูมิแพ้ อิมมูโนวิทยาและโรคข้อ ร.พ.รามาธิบดี

ผศ.พญ.โสมศิริ สุขะวัชรินทร์ หน่วยจอตาและม่านตาอักเสบ ร.พ.รามาธิบดี

ภาวะม่านตาอักเสบชนิด anterior uveitis หรือ panuveitis ทั้งแบบ acute และ chronic อาจพบร่วมกับ rheumatic disease  โรคที่พบบ่อยในกลุ่ม acute คือ กลุ่มโรค spondyloarthropathy (ประกอบด้วย ankylosing spondylitis, psoriatic arthritis, reactive arthritis, inflammatory bowel disease) และกลุ่ม chronic คือ Behcet disease โดยผู้ป่วยอาจมีอาการเริ่มต้นเป็นทีละตาสลับกันหรือเป็นทั้ง 2 ข้างพร้อมกันได้


Diabetic macular edema (DME)

Updated 2015-08-31 21:52:00 by คุณ System Administrator 533 Views

การรักษา Diabetic macular edema

ปัจจุบัน intravitreous anti-vascular endothelial growth factor (anti-VEGF) injection เป็น first line therapy สำหรับ center-involved DME with visual impairment